ความสัมพันธ์ระหว่างประเพณี วัฒนธรรม และศิลปะไทยตามแนวพุทธศาสตร์
คำสำคัญ:
ประเพณี, วัฒนธรรม, ศิลปะไทยบทคัดย่อ
วัตถุประสงค์ในการจัดทำบทความนี้ คือ 1) เพื่อศึกษาประเพณีไทย 2) เพื่อศึกษาวัฒนธรรมไทย 3) เพื่อศึกษาศิลปะไทย และ 4) แนวคิดความสัมพันธ์ระหว่างประเพณี วัฒนธรรม และศิลปะไทยตามแนวพุทธศาสตร์ ผลการศึกษา พบว่า 1) ประเพณี วัฒนธรรม และศิลปะของสังคมไทยถือได้ว่าเป็นรากฐานของการดำเนินชีวิตตั้งแต่เกิดจนตายที่มีความเชื่อมโยงกับหลักธรรมของพระพุทธศาสนาอย่างลึกซึ้ง 2) บริบทของสังคมที่มีการเปลี่ยนแปลงตามกระแสโลกมีผลทำให้เกิดการเปลียนแปลงไปบ้างของประเพณี วัฒนธรรมและศิลปะ แต่ทั้งนี้ก็ยังคงความเป็นเอกลักษณ์ของสังคมไทยอยู่ 3) ความสัมพันธ์ของประเพณี วัฒนธรรมและศิลปะจึงเป็นการแสดงออกถึงความมีอารยธรรมของสังคมไทยภายใต้แนวคิดทางพระพุทธศาสานา
References
กรมศิลปากร. (ม.ป.ป.). (2562). ?ฮีตสิบสอง" ประเพณี 12 เดือนอีสาน. เข้าถึงเมื่อ 7 กุมภาพันธ์ 2562. เข้าถึงได้จาก http://www.finearts.go.th/nakhonphanomlibrary/parameters/km/item/ฮีตสิบสอง-ประเพณี-12-เดือนอีสาน.
กรมศิลปากร กระทรวงวัฒนธรรม. (2552). พิธีกรรมและประเพณี. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จำกัด.
โกสุม สายใจ. (2560). พุทธศิลป์กับการจัดการความรู้ Buddhism Art and Knowledge Management.
กิตติพร สัจจะบุตร. (2549). ศึกษาประเพณีในรอบปีและผลกระทบที่เกิดจากการปฏิบัติ ตามประเพณีในรอบปีของชาวไทยมุสลิมอำเภอละงู จังหวัดสตูล. วิทยานิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาไทยคดีศึกษา มหาวิทยาลัยทักษิณ.
วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชพฤกษ์ ปีที่ 3 ฉบับที่ 1 (กุมภาพันธ์ ? พฤษภาคม 2560).
ชะลูด นิ่มเสมอ. (2539). องค์ประกอบของศิลปะ. กรุงเทพฯ : ไทยวัฒนาพานิช.
นุชณีภรณ์ วงษ์กลม. (2555.) การพัฒนาหนังสืออ่านเพิ่มเติม กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม ชุดวัฒนธรรมพื้นบ้านตำนานพื้นเมืองเรื่อง ฮีตสิบสอง ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี.
บ้านจอมยุทธ. (2543). ขนบธรรมเนียม ประเพณี วัฒนธรรม อารยธรรม. เข้าถึงเมื่อ 12 กุมภาพันธ์ 2562. เข้าถึงได้จาก https://www.baanjomyut.com.
ประจักษ์ ประภาพิทยากร. (2527). ภาษากับวัฒนธรรม. กรุงเทพฯ : อักษรเจริญทัศน์.
ประชิด สกุณะพัฒน์. (2546). วัฒนธรรมพื้นบ้านและประเพณีไทย. กรุงเทพฯ : ภูมิปัญญา.
พระยาอนุมานราชธน. (2514). วัฒนธรรมและประเพณีต่างๆ ของไทย. พระนคร : คลังวิทยา.
ร้อยพุบพา. (2549). พุทธศิลป์. เข้าถึงเมื่อ 12 กุมภาพันธ์ 2562. เข้าถึงได้จากhttps://www.facebook.com/permalink.php?story
ศรีเลา เกษพรหม. (2538). ประเพณีชีวิตคนเมือง. เชียงใหม่: โรงพิมพ์มิ่งเมือง.
สามารถ มังสัง. (2559). ศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณี : มรดกสังคมอันควรอนุรักษ์. เข้าถึงเมื่อ 7 กุมภาพันธ์ 2562. เข้าถึงได้จาก https://mgronline.com/daily/detail/9590000049294.
สารานุกรมเสรี. (2556). ประเพณี. เข้าถึงเมื่อ 7 กุมภาพันธ์ 2562. เข้าถึงได้จาก https:// th.wikipedia.org/wiki/ประเพณี.
สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ. (2557). ศิลปะ สุนทรียภาพ กับความเป็นมนุษย์. เข้าถึงเมื่อ 12 กุมภาพันธ์ 2562. เข้าถึงได้จาก http://www.thaihealth.or.th.
สำนักงานราชบัณฑิตยสถาน. (2554). บทวิทยุรายการ ?รู้ รัก ภาษาไทย? ออกอากาศทางสถานีวิทยุกระจายเสียงแห่งประเทศไทย เมื่อวันที่ 21 เมษายน พ.ศ. 2554 เวลา 7.00-7.30 น. เข้าถึงเมื่อ 7 กุมภาพันธ์ 2562. เข้าถึงได้จาก https://royin.go.th/?knowledges=ประเพณี-21-เมษายน-2554.
สำนักงานราชบัณฑิตยสถาน. (2555). บทวิทยุรายการ ?รู้ รัก ภาษาไทย? ออกอากาศทางสถานีวิทยุกระจายเสียงแห่งประเทศไทย เมื่อวันที่ 7 สิงหาคม พ.ศ. 2555 เวลา 7.00-7.30 น. เข้าถึงเมื่อ 7 กุมภาพันธ์ 2562. เข้าถึงได้จาก http://www.royin.go.th/?knowledges=วัฒนธรรม-7-สิงหาคม-2554
สำเนียง เลื่อมใส และคณะ. (2551). สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม 2. กรุงเทพฯ : บริษัท สำนักพิมพ์เอกพันธ์ จำกัด.
อมรรัตน์ เทพกำปนาท. (2552). ความหมายวัฒนธรรม. กลุ่มประชาสัมพันธ์ สำนักงาคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ กระทรวงวัฒนธรรม.