ประเพณีตามแนวพุทธศาสตร์

ผู้แต่ง

  • มนัสวี ศรีนนท์ สถาบันนวัตกรรมการเรียนรู้ มหาวิทยาลัยมหิดล
  • พระมหามฆวินทร์ ปุริสุตฺตโม ศูนย์วิจัยธรรมศึกษา สำนักเรียนวัดอาวุธวิกสิตาราม
  • พระไสว วชิรญาโณ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย
  • พระบวร สุนฺทโร มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย
  • ครรชิต มีซอง มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย

คำสำคัญ:

ประเพณี, พุทธศาสตร์, ขนบประเพณี

บทคัดย่อ

บทความเรื่องนี้ มุ่งศึกษาประเพณีตามแนวพุทธศาสตร์ สรุปแล้ว พบว่า การเกิดขึ้นของประเพณีที่จัดแบ่งเป็นจารีตประเพณี ขนบประเพณี และธรรมเนียมประเพณี ตามแนวทางแห่งพระพุทธศาสนานั้นมีวัตถุประสงค์ต่อการดำรงชีวิต โดยเฉพาะในยุคแรกมุ่งพัฒนาชีวิตพระภิกษุสงฆ์ แต่ต่อมาก็สามารถนำไปประยุกต์ใช้เป็นประเพณีหรือเป็นพิธีกรรมของชาวพุทธด้วย ดังนั้น ประเพณีหรือกรอบแห่งวิถีชีวิตที่ไม่เอื้อหรือไม่เหมาะสม พระพุทธองค์ก็จะไม่อนุญาต ประเพณีตามแนวพุทธศาสตร์นี้ จึงเป็นเรื่องที่พระพุทธองค์ทรงวางแบบแผนไว้เพื่อประโยชน์สุขของชีวิตในศาสนาและชีวิตของประชาชนโดยทั่วไป ดังจะเห็นได้จากประเพณีตามแนวพุทธศาสตร์ที่ก่อเกิดขึ้นมาด้วยปัญญา มีเหตุผลประกอบ และที่สำคัญเป็นประเพณีที่มุ่งเพื่อสงฆ์หรือคนส่วนใหญ่เป็นหลัก

References

กระทรวงวัฒนธรรม. (2510). คู่มือปฏิบัติพิธีต่าง ๆ และ ประเพณีเนื่องในเทศกาลเข้าพรรษา ออกพรรษา ทอดกฐิน ทอดผ้าป่า. กรุงเทพฯ: พิมพ์แจกในงานฌาปนกิจศพ นางบุญสุทธิ์ ณ นคร.

กฤชกร เพชรนอก. (2551). เอกลักษณ์ไทย, ปทุมธานี: สกายบุกส์.

คณาจารย์มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2553). คู่มือนักธรรมและธรรมศึกษาชั้นตรี วิชาพุทธประวัติและศาสนพิธี.พระนครศรีอยุธยา: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

คณาจารย์สำนักพิมพ์เลี่ยงเชียง. (2548). หนังสือเรียนนนักธรรมชั้นตรี ฉบับมตราฐาน บูรณาการชีวิต วิชาวินัยมุข. กรุงเทพฯ: เลี่ยงเชียง.

คูณ โทขันธ์. (2545). พระพุทธศาสนากับสังคมและวัฒนธรรมไทย, กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร์.

จิรภัทร แก้วกู่. (2558). ภาษาศาสตร์ภาษาบาลี. ขอนแก่น: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตขอนแก่น.

โชติ ศรีสุวรรณ. (2554). ประเพณีสิบสองเดือน. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพฯ: สถาพรบุคส์.

ดนัย ไชยโยธา. (2546). สังคม วัฒนธรรม และประเพณีไทย, พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร์.

ณรงค์ เส็งประชา. (2539). พื้นฐานวัฒนธรรมไทย, พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร์.

นงเยาว์ ชาญณรงค์. (2542). วัฒนธรรมและศาสนา, พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยรามคำแหง.

นิธิ เอียวศรีวงศ์. (2557). ผ้าขาวม้า, ผ้าซิ่น, กางเกงใน และ ฯลฯ. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: มติชน.

บรรเทิง พาพิจิตร. (2546). ประเพณี วัฒนธรรมไทย และคติความเชื่อ, กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร์.

พระครูอรุณธรรมรังษี (เอี่ยม สิริวณฺโณ). (ม.ป.ป.). มนต์พิธีสำหรับพระภิกษุสามเณร และพุทธศาสนิกชนทั่วไป. กรุงเทพฯ: เลี่ยงเชียง.

พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว. (2553). พระราชพิธีสิบสองเดือน. กรุงเทพฯ: เพชรกะรัต.

พระพรหมคุณาภรณ์, (ป.อ.ปบุตฺโต). (2559). พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม. พิมพ์ครั้งที่ 34. นครปฐม: มูลนิธิการศึกษาเพื่อสันติภาพ พระธรรมปิฎก (ป.อ.ปยุตฺโต).

พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตฺโต). (2559). พระไตรปิฎก: สิ่งที่ชาวพุทธต้องรู้. พิมพ์ครั้งที่ 17. นครปฐม: วัดญาณเวศกวัน.

พระมหาโพธิวงศาจารย์, (ทองดี สุรเตโช). (2561). พระวินัยบัญญัติ. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: วัดราชโอรสาราม ราชวรวิหาร.

พระราชธรรมนิเทศ, (ระแบบ ฐิตญาโณ) แปล เรียบเรียง. (2536). พระวินัยปิฎกย่อ เล่ม 1. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพฯ: มหามกุฏราชวิทยาลัย.

พระมหาสมชาย ฐานวุฑฺโฒ. (2560). ?ถิ่นกำหนดภาษาบาลี?, ธรรมธารา, ปีที่ 3 ฉบับที่ 1 เล่มที่ 4 (มกราคม-มิถุนายน 2560): 11-81.

พระมหาสมชาย ฐานวุฑฺโฒ. (2558). ?สิกขาบทในพระปาฏิโมกข์เกิดขึ้นเมื่อใด?, ธรรมธารา, ปีที่ 1 ฉบับที่ 1 เล่มที่ 1 (มกราคม-ธันวาคม 2558): 13-54.

พัฒน์ เพ็งผลา. (2542). ประวัติวรรณคดีบาลี. พิมพ์ครั้งที่ 5. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยรามคำแหง.

มติชน. (2547). พจนานุกรม มติชน, กรุงเทพฯ: มติชน.

ราชบัณฑิตยสถาน. พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542. (2546). กรุงเทพฯ: นามมีบุ๊คพับลิเคชั่น.

โรงเรียนพระปริยัติธรรม วัดพระธรรมกาย. (2555). คู่มือเตรียมสอบนักธรรมชั้นตรี. พิมพ์ครั้งที่ 5. ปทุมธานี: วัดพระธรรมกาย.

โรงเรียนพระปริยัติธรรม วัดพระธรรมกาย. (2555). คู่มือเตรียมสอบนักธรรมชั้นโท. พิมพ์ครั้งที่ 2. ปทุมธานี: วัดพระธรรมกาย.

วรวุธ สุวรรณฤทธิ์ และคณะ. (2547). วิถีไทย, พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร์.

วินัย ไชยทอง และ กิตติเชษฐ สมใจ. (2547). มรดกไทย. กรุงเทพฯ: บรรณกิจ.

สมชัย ใจดี และยรรยง ศรีวิริยาภรณ์. (2545). ประเพณีและวัฒนธรรมไทย. พิมพ์ครั้งที่ 15. กรุงเทพฯ: ไทยวัฒนาพานิช.

สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์, (ป.อ. ปยุตฺโต). (2561). พจนานุกรมพุทธศาสน์ฉบับประมวลศัพท์, พิมพ์ครั้งที่31. นครปฐม: มูลนิธิ ป.อ. ปยุตโต เพื่อเชิดชูธรรม.

สมิทธิ เนตรนิมิตร. (2556). บาลีศึกษาในอรรถกถาธรรมบท. กรุงเทพฯ: สถาบันวิจัยพุทธศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, บัณฑิตวิทายาลัย มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

สุพัตรา สุภาพ. (2543). สังคมและวัฒนธรรมไทย ค่านิยม: ครอบครัว: ศาสนา: ประเพณี, พิมพ์ครั้งที่ 11.กรุงเทพฯ: ไทยวัฒนาพานิช.

สุริยา รัตนกุล. (2555). พิธีกรรมในศาสนา เล่ม 1. พิมพ์ครั้งที่ 2. นครปฐม, สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยมหิดล.

สุวรรณ นิลเพชร. (2532). วัฒนธรรมและศาสนา, พิมพ์ครั้งที่ 5. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยรามคำแหง.

เสถียร โพธินันทะ. (ม.ป.ป.). ประวัติพระพุทธศาสนา. กรุงเทพฯ: สภาการศึกษามหามกุฏราชวิทยาลัยมหาวิทยาลัยพระพุทธศาสนา.

ศาสนา

องค์การศึกษา กรมศาสนา กระทรวงศึกษาธิการ. (ม.ป.ป.). ศาสนพิธี เล่ม 1. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์.

องค์การศึกษา กรมศาสนา กระทรวงศึกษาธิการ. (ม.ป.ป.). ศาสนพิธี เล่ม 2. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ศาสนา.

อุดม เชยกีวงศ์. (2547). วิถีไทย. กรุงเทพฯ: บรรณกิจ.

Bailey, Greg and Mabbeti, Ian. (2003). The Sociology of Early Buddhism. New York: Cambridge University.

Buffetrille, Katia and Lopez, Donald S.(ed.). (2010). Introduction to the history of Indian Buddhism. Chicago: The University of Chicago.

Gethin, Rupert. (1998). The Foundation of Buddhism. New York: Oxford University.

Omvedt, Gail. (2003). Buddhism in India. New Delhi: Sage.

Lopez, Donal S. (2008). Buddhism and Science: A Guide for the Perplexed. Chicago: The University of Chicago.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2019-12-25

Most read articles by the same author(s)